ค้นหาบล็อกนี้

วันอังคารที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2560

แผนการเรียนรู้วิชาระบบปฏิบัตการเบื้องต้น ปวช.


แผนการจัดการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


รหัสวิชา  ๒๒๐๔-๒๐๐๒     ชื่อวิชา   ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
หลักสูตร  ประกาศนียบัตรวิชาชีพ  พุทธศักราช ๒๕๕๖
ประเภทวิชา  พณิชยกรรม
สาขาวิชา  พณิชยการ  สาขางาน  คอมพิวเตอร์ธุรกิจ





จัดทำโดย
นายสมภพ  จุลถาวรทรัพย์





วิทยาลัยเทคโนโลยีบัวใหญ่
สำนักงานบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
คำนำ

                เอกสารประกอบการสอนวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น”  รหัสวิชา  2204-2002 เรียบเรียงขึ้นตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  พุทธศักราช  2556  ของสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา  เนื้อหาภายในแบ่งออกเป็น  5 บท  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์  หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์  ระบบปฏิบัติการ  การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ  การใช้ดปรแกรมยูทิลิตี้  เป็นต้น
            สำหรับเอกสารประกอบการสอนรายวิชานี้  ผู้เรียบเรียงได้ทุ่มเทกำลังกาย  กำลังใจและเวลาในการศึกษาค้นคว้า  รวบราม  ปรับปรุงเนื้อหาให้เป็นปัจจุบัน   โดยมีความมุ่งหวังที่จะให้เกิดประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน  และเป็นแนวทางสำหรับผู้ที่เริ่มจะศึกษา  หรือผู้ที่ต้องการข้อมูลเพิ่มเติม
            ท้ายที่สุดนี้  ผู้เรียบเรียงขอขอบคุณผู้ที่สร้างแหล่งความรู้ และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่าง ๆ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เอกสารรายวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น   เล่มนี้เสร็จสมบรูณ์เป็นที่เรียบร้อย  และหากผู้ที่ศึกษาพบข้อบกพร่องหรือมีข้อเสนอแนะประการใด  ขอได้โปรดแจ้งผู้เรียบเรียงทราบด้วย     จักขอบคุณยิ่ง


                                                                                                                                    นายสมภพ  จุลถาวรทรัพย์
                                                                                                                                                                   ผู้เรียบเรียง








แผนการจัดการเรียนรู้

วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)  
จำนวน  หน่วยกิต   4   ชั่วโมง/สัปดาห์   รวม 72 / ภาคเรียน
หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ  ( พุทธศักราช 2556 ) 
ประเภทวิชา พาณิชยกรรม  (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)
   
จุดประสงค์รายวิชา
1.  รู้หลักการและพื้นฐานเกี่ยวกับองค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
2.  รู้ความหมายหน้าที่และความสำคัญของระบบปฏิบัติการ
3.  มีทักษะในการใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
4.  มีทักษะในการใช้โปรแกรมยูทิลิตี้ได้
5.  มีกิจนิสัยและส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีในการใช้คอมพิวเตอร์         
(สมรรถนะรายวิชา)
1.  แสดงองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
2.  เลือกใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงและสื่อบันทึกข้อมูล
3.  ใช้งานระบบปฏิบัติการ
4.  เลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
5.  ใช้งานโปรแกรมยูทิลิตี้
 คำอธิบายรายวิชา
       ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง สื่อบันทึกข้อมูล ความหมายและหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ ประเภทของโปรแกรมระบบปฏิบัติการ การใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติการ การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้





การวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และสมรรถนะรายวิชา
ชื่อวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)  
จำนวน  หน่วยกิต   4   ชั่วโมง/สัปดาห์   รวม 72 / ภาคเรียน

หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
สมรรถนะรายวิชา

1.

หน่วยที่  1   
     -องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

สมรรถนะ :
-                   แสดงองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
ด้านความรู้
-                   เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและองค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์
-                   แยกระบบคอมพิวเตอร์

ด้านทักษะ
-                   จำแนกประเภทของระบบคอมพิวเตอร์
ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. กำหนดให้ทุกคนเข้าเรียน  เลิกเรียนตรงเวลาและปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา
2.  มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่อง การทำงบทดลองให้เกิดประโยชน์กับผู้ที่พบเห็นได้อย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3 ปลูกฝั่งในความเป็นไทย  รักชาติ  ศาสนา
 พระมหากษัตริย์ ค่านิยม 12 ประการ    



หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
สมรรถนะรายวิชา
2.















3.
หน่วยที่ 2 
-หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์















หน่วยที่ 3
-ระบบปฏิบัติการ
สมรรถนะ:
   -   เลือกใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงและสื่อบันทึกข้อมูล
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้
-                   ถ่ายทอดหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
-                   เลือกใช้อุปกรณ์ต่อพ่วงแต่ละชนิดได้
ด้านทักษะ
-                   เขียนหลักการทำงานของอปุกรณ์ต่อพ่วง
ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. กำหนดให้ทุกคนเข้าเรียน  เลิกเรียนตรงเวลาและปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา
2. มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่อง การทำงบทดลองให้เกิดประโยชน์กับผู้ที่พบเห็นได้อย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

สมรรถนะ:
 -             ใช้งานระบบปฏิบัติการ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้
-                   วิเคราะห์ความหมายของระบบปฏิบัติการ
-                   แยกแยะหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
ด้านทักษะ
-                   ใช้งานระบบปฏิบัติการ


หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
สมรรถนะรายวิชา
3.




4.

















  บทที่ 
  - ระบบปฏิบัติการ



หน่วยที่ 4.
-การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ




ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. กำหนดให้ทุกคนเข้าเรียน  เลิกเรียนตรงเวลาและปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา
2. ความสนใจใฝ่รู้
สมรรถนะ:
-                   เลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้
-                   สามารถ Log on เพื่อเข้าใช้งานวินโดวส์
-                   บอกส่วนต่างๆ ของหน้าตา Windows 7
ด้านทักษะ
-                   ทดลองใช้และตั้งค่า Screen Saver
ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. กำหนดให้ทุกคนเข้าเรียน  เลิกเรียนตรงเวลาและปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา
2. มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาให้ความรู้ และคำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่อง การทำงบทดลองให้เกิดประโยชน์กับผู้ที่พบเห็นได้อย่างมีเหตุและผลตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง







หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
สมรรถนะรายวิชา
5
หน่วยที่ 5
-                   การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้
สมรรถนะ:
-                   ใช้งานโปรแกรมยูทิลิตี้
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม:
ด้านความรู้
-                   อธิบายความหมายของโปรแกรมยูทิลิตี้ได้
  ด้านทักษะ
-                   ใช้งานโปรแกรม Scan disk  และ Disk Defragmenter ได้(ด้านทักษะ)
-                   รักษาหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้
ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. กำหนดให้ทุกคนเข้าเรียน  เลิกเรียนตรงเวลาและปฏิบัติงานเสร็จทันตามกำหนดเวลา
2. ความสนใจใฝ่รู้














ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวิชา
ชื่อวิชา   ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  รหัสวิชา   2204-2002
 จำนวน  2   หน่วยกิต      4  ชั่วโมง/สัปดาห์
รวม  72  ชั่วโมง / ภาคเรียน
 


                           
                                พฤติกรรม


                 ชื่อหน่วย
พุทธิพิสัย






ความรู้
ความข้าใจ
นำไปใช้
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ประเมินค่า
ทักษะพิสัย
จิตพิสัย
รวม
ลำดับความสำคัญ
จำนวนชั่วโมง
จำนวนข้อสอบ
 1. องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3
4
5
3


2
2
19
6
12
6
 2. หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
3
4
5
3


2
2
19
4
12
9
 3.  ระบบปฏิบัติการ
3
4
5
4


2
3
21
1
14
12
 4. การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
5
4
5
3


2
3
22
2
16
9
  5. การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้
3
4
5
3


2
2
19
5
14
6


























สัปดาห์ที่ 9  สอบกลางภาคเรียน










2

สัปดาห์ที่ 18  สอบปลายภาคเรียน










2





















































รวม
17
20
25
17


10
12
100

72
60
ลำดับความสำคัญ
3
2
1
3


5
4







ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้และเวลาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
ชื่อวิชา    ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น      รหัสวิชา   2204-2002    
 จำนวน   2   หน่วยกิต    4 ชั่วโมง/สัปดาห์
หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้และรายการสอน
สัปดาห์ที่
ชั่วโมงที่

1

 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
1.             องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
2.             ระบบคอมพิวเตอร์
3.             ประเภทของคอมพิวเตอร์
ค้นคว้าเพิ่มเติม : ความรู้พื้นฐาน Ms. Visual Bsic 6.0


1-4


1-16

2

 หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
1.             หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
2.             หลักการทำงานของอุปกรณ์ต่อพ่วง
3.             คีย์บอร์ด
4.             เมาส์
5.             จอภาพ
6.             ลำโพง
7.             เครื่องสำรองไฟ
8.             เครื่องพิมพ์
9.             สแกนเนอร์
10.      เครื่องอ่านรหัสแท่ง
11.      โมเด็ม
12.      กล้องถ่ายภาพดิจิทัล
13.      กล้อง Web Cam
14.      หูฟัง
15.      จอยสติ๊ก
16.      โปรเจคเตอร์
17.      สื่อบันทึกข้อมูล
ค้นคว้าเพิ่มเติม : การออกแบบโปรแกรมแบบ Graphic Interface



5-8






17-32




สอบกลางภาค 1/2558
9
33-36
หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้และรายการสอน
สัปดาห์ที่
ชั่วโมงที่

3
  
ระบบปฏิบัติการ
1.      ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการ
2.      หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
3.      ความสำคัญของระบบปฏิบัติการ
4.      ประเภทของระบบปฏิบัติการ
5.      ระบบปฏิบัติการ DOS
6.      ระบบปฏิบัติการ Windows
7.      ระบบปฏิบัติการ  Linux
ค้นคว้าเพิ่มเติม : การเขียนโปรแกรม Coding (การค้นหาภาพ)




10-12




37 - 48


4

 การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
  1. ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Standard)
  2. ระบบปฏิบัติการแบบปิด  (Proprietary)
  3. การ Log On เพื่อเข้าใช้งาน
  4. หน้าตาของ Windows 7
  5. การปรับแต่งหน้าตาของ Windows 7
  6. สกรีนเซฟเวอร์
  7. การปรับแต่งทาสก์บาร์
  8. หน้าที่และการใช้งานของหน้าต่างโปรแกรม
  9. การเรียกใช้งานโปรแกรม
  10. การออกจากวินโดว์
  11. ความหมายและความสำคัญและระบบเครือข่าย
  12. อุปกรณ์พกพา
ค้นคว้าเพิ่มเติม :การเขียนโปรแกรม Coding(การใส่เพลงคาราโอเกะ)





13-15





49 – 60















หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้และรายการสอน
สัปดาห์ที่
ชั่วโมงที่

5
  
การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้
1.             โปรแกรม Scan Disk
2.             โปรแกรม Defragmenter
3.             โปรแกรมรักษาจอภาพ  Screen Saver
4.             โปรแกรม Nero Buming Rom 11
5.             โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
6.             โปรแกรมย่อไฟล์ (Win RAR)
ค้นคว้าเพิ่มเติม : การเขียนโปรแกรม Coding (การค้นหาภาพ)




16-17




61 - 68


สอบปลายภาคเรียนที่ 1 / 2558
18
6972

รวม
18  สัปดาห์
   72   คาบ














แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
ชื่อวิชา    ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  รหัสวิชา   2204 - 2002
หน่วยที่   ชื่อหน่วย   องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เวลา   4  ชั่วโมง    สัปดาห์ที่  1 - 4   ชั่วโมงที่  1 – 16  (ปฐมนิเทศ  15 – 20 นาที)
 


1.  สาระสำคัญ
-                     องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ คืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่นำมาประกอบกันแล้วจะได้คอมพิวเตอร์ที่  สมบูรณ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สำคัญหลายส่วนคือ กล่องซีพียู แป้นพิมพ์ เมาส์ จอภาพ และลโพง ส่วนระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึงระบบที่จะทให้คอมพิวเตอร์ สามารถทงานได้ อย่างสมบูรณ์ ถ้าขาดองค์ประกอบส่วนใดส่วนหนึ่งแล้ว เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทงานได้ ประกอบด้วยองค์ประกอบที่สคัญ 4 ประการคือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ พีเพิลแวร์ และข้อมูล

              2.  สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 
 -  แสดงองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

             3.  สาระการเรียนรู้
3.1   ปฐมนิเทศนักเรียน  เพื่อชี้แจงเนื้อหาที่เรียน  หลักเกณฑ์ต่างๆ  คุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม 12 ประการ อีกทั้งยังต้อพูดถึงเรื่อง ความเป็นไทย  การวัดและประเมินผล ในรายวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
3.2       องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.3       ระบบคอมพิวเตอร์
3.4       ประเภทของคอมพิวเตอร์

4.  จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง
4.1       มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
4.2       มีความรู้ความเข้าใจในทักษะการใช้งานองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
4.3   มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ  อุปกรณ์  และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง สำเร็จภายในเวลาที่กำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  
5..  จุดประสงค์การเรียนรู้นำทาง (พฤติกรรม)
5.1       อธิบายความหมายและองค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้
5.2       แยกระบบคอมพิวเตอร์ ได้ 
5.3       จำแนกประเภทของระบบคอมพิวเตอร์ได้
5.4  การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ  อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง  และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน   มีการจัดเตรียมสถานที่  สื่อ  วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง 
5.5  มีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอที่น่าสนใจนำวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้   อย่างคุ้มค่าและประหยัด
                6.  การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                1. หลักความพอประมาณ
                                               - พอประมาณกับเวลาที่กำหนดในการเรียนการสอน  เรื่อง  องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์                            - พอประมาณกับการนำ วัสดุ  อุปกรณ์  และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง โดยใช้คุณค่าความงามจากผลงานให้เกิดประโยชน์กับผู้ที่เห็น  เรื่อง    องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
                                           2. หลักความมีเหตุผล
                                              - มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในทักษะกระบวนการคิด และแก้ปัญหา
                                              - ออกแบบหรือใช้เทคนิค และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
                                                - เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานตัวชี้วัด
                                           และมีคุณลักษณะพึงประสงค์                  
                                3. หลักภูมิคุ้มกัน
                          - มีการวางแผนและบริหารเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตามแผนไม่ให้บกพร่อง
                                                        - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอนให้พอเพียงกับผู้เรียน
                                                - กำหนดใบมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนเตรียมตัวล่วงหน้า
                               4.  เงื่อนไขความรู้
                                         - มีความรู้และมีความชำนาญในเนื้อหาที่จะทำการสอน
                                        - รู้เทคนิควิธีการสอนแลการแก้ไขกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นขณะทำการเรียนการสอน
                                        - รู้วิธีการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมให้กับการเรียนการสอน
              5.  เงื่อนไขคุณธรรม
                                                       - มีจิตสำนึก  และตระหนักถึงความปลอดภัย  และอันตรายที่จะเกิดต่อตัวเอง และผู้อื่น
- มีความเอื้อเฟื้อต่อกัน  มีความสามัคคี   รู้จักเสียสละ มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต
  ตรงต่อเวลา  และมีความคิดสร้างสรรค์
                              6. การเชื่อมโยง 
                                  - ด้านสังคม
                                                       - สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมหรือในองค์กรได้
                                                    - การใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าเศรษฐกิจ
                                                    - เลือกวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน และการทำงานได้อย่างถูกต้อง
                                                    - เลือกวิธีการป้องกันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้
                                                    - ผู้ฝึกการปฏิบัติงานควรคำนึงถึงผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่าย
                           - ด้านวัฒนธรรม
                                        - ผู้เรียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
                                                    - มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมี
                                    ความสุข   
                          - ด้านสิ่งแวดล้อม
                                        - เกิดความปลอดภัยในชีวิตตนเอง และผู้อื่น
                                                    - จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง

 - การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 D
              1.   ด้านประชาธิปไตย
- มีการเปิดโอกาสนักเรียนได้แสดงความคิดเห็น  และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
              2.   ด้านคุณธรรม  จริยธรรม ค่านิยม 12 ประการและความเป็นไทย
- นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบ ประณีต  และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินัย  ความ
  สนใจใฝ่รู้ 
              3.   ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด
- นักเรียนใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งทำงานที่ได้รับมอบหมายจะได้
                             ห่างไกลจากยาเสพติด

               7.  กิจกรรมการเรียนรู้
-  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้รายวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น 
2. ครูแจ้งเกณฑ์การวัด การประเมินผล และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องรายวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น

-  ขั้นสอน
1. ครูบรรยายเนื้อหาประกอบแผ่นใส / power point
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในประเด็นที่สงสัยหรือไม่เข้าใจ


-  ขั้นสรุป
1. ครูสรุปสาระสำคัญของหน่วยการเรียนรู้และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามหรือแสดง
   ความคิดเห็น
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้

                  8.  สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
8.1  หนังสือเรียน วิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)
8.2   สื่อ  power point  เกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนรู้
8.3  ห้องสมุดวิทยาลัย/โรงเรียน  ศูนย์วิทยบริการ  ห้องปฏิบัติการ 
                           8.4  ครูผู้สอน, Internet , E- books , Website  ต่าง ๆ
                      
                 9.  หลักฐานการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักศึกษา (อาจใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
                     9.1  การจัดบอร์ด และนำเสนอ  
                     9.2  แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ-ใบงาน-แฟ้มสะสมผลงาน
 
                10. การวัดและประเมินผล
                           -วิธีวัด / เครื่องมือวัด / ประเมินผล/เกณฑ์การวัดผล
                                 10.1   ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
                           10.2   การซักถาม และการตอบคำถาม
                             10.3   แบบทดสอบ / แบบฝึกหัด และกิจกรรมการฝึกทักษะ(ปฏิบัติงานจริง)ใบงาน
                             10.4   การทำงานเป็นทีม (ให้ความสำคัญในการทำงาน) หรือด้านเจคติ
                            10.5   แฟ้มสะสมผลงาน
                            10.6  เกณฑ์การวัดประเมินผลจะต้องผ่านเกณฑ์  70 %

            11. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย  (ถ้ามี)

                       -  เพื่อให้การนำแผนการสอนวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส 2204-2002)  ไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น  ก่อนการนำแผนการสอนนี้ไปใช้ ครูผู้สอนควรดำเนินการดังต่อไปนี้

1.             ครูผู้สอนควรศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการสอนให้ละเอียด
2.             จัดเตรียมสื่อ วัสดุ  อุปกรณ์ที่จะใช้ในการเรียนการสอนให้ครบถ้วน
3.             ดำเนินการสอนตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน
4.             ครูนักเรียนควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรู้
5.             ครูควรมีการมอบหมายงานให้นักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีทั้งภาคปฏิบัติ(ชิ้นงาน)

             12.  เอกสารอ้างอิง
               
 -  หนังสือ วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส  2204-2002)   ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง  บุญสืบ  โพธิ์ศรี      
 -  ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ  89 .มหรรณพ  เสาชิง  พระนคร  กรุงเทพฯ 10200  โทรศัพท์. 0-2224-1129, 0-224-1197
-  Website  ต่าง ๆ



























            13.  บันทึกหลังการสอน
                 13.1  ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.2  ปัญหาที่พบ
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.3  แนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………
.……………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………
                                                               

                                                             ลงชื่อ                                                         ครูผู้สอน
                                                                             (...............................................................)

แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
ชื่อวิชา    ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  รหัสวิชา   2204 - 2002
หน่วยที่   ชื่อหน่วย   หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
เวลา   4  ชั่วโมง    สัปดาห์ที่  5-9   ชั่วโมงที่  17-36
 


1.  สาระสำคัญ
-  Windows 7 เป็นระบบปฏิบัติการที่กำลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน Windows 7 ถูกพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้นกว่าวินโดวส์รุ่นก่อนหลายด้าน เช่น ความเร็วในการค้นหาข้อมูล การป้องกันความปลอดภัยของข้อมูล และการปรับแต่งหน้าตาของวินโดวส์ให้มีความทันสมัยมากขึ้น      
2.  สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 
-  เลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
             3.  สาระการเรียนรู้
3.1       ระบบปฏิบัติการแบบเปิด (Open Standard)
3.2      ระบบปฏิบัติการแบบปิด  (Proprietary)
3.3      ความหมายและความสำคัญของระบบเครือข่าย
3.4      อุปกรณ์พกพา
3.5      การ Log On  เพื่อเข้าใช้งาน
3.6      หน้าต่างของ  Windows 7
3.7       การปรับแต่งหน้าต่างของ Windows 7
3.8       การปรับแต่งทาสก์บาร์
3.9       หน้าที่และการใช้งานของหน้าต่างโปรแกรม
3.10                       การเรียกใช้งานโปรแกรม
3.11                       การออกจากวินโดว์
3.12   การออกแบบโปรแกรมแบบ Graphic Interface
  4.  จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง
4.1       มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
4.2      มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะการใช้งาน การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
4.3      มีความรู้ความเข้าในเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ  อุปกรณ์  และการปฏิบัติงาน
อย่างถูกต้อง สำเร็จภายในเวลาที่กำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

4.             จุดประสงค์การเรียนรู้นำทาง (พฤติกรรม)
4.1  สามารถ Log on เพื่อเข้าใช้งานวินโดวส์ได้
4.2  บอกส่วนต่างๆ ของหน้าตา Windows 7 ได้
4.3  ปรับแต่งหน้าตาของ Windows 7 ได้)
4.4  ทดลองใช้และตั้งค่า Screen Saver ได้
4.5  ย้ายและเปลี่ยนตำแหน่งทาสก์บาร์ได้
4.6  อธิบายการใช้งานและหน้าที่ของหน้าต่างในวินโดวส์ได้
4.7  เรียกใช้โปรแกรมได้หลายรูปแบบ
4.8  ออกจากวินโดวส์ได้ถูกต้อง
4.9  การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ  อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง  และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน   มีการจัดเตรียมสถานที่  สื่อ  วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง 
                5.  การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                1. หลักความพอประมาณ
                                               - พอประมาณกับเวลาที่กำหนดในการเรียนการสอน  เรื่อง  การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
                                                พอประมาณกับการสร้างสรรค์งานศิลปะตามหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์โดยใช้คุณค่าความงามจากผลงานให้เกิดประโยชน์กับผู้ที่เห็น  เรื่อง    การเลือกใช้ระบบปฏิบัติการ
                           2. หลักความมีเหตุผล
                                              - มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในทักษะกระบวนการคิด และแก้ปัญหา
                                              - ออกแบบหรือใช้เทคนิค และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
                                                - เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานตัวชี้วัด
                                           และมีคุณลักษณะพึงประสงค์     
            
                                3. หลักภูมิคุ้มกัน
                          - มีการวางแผนและบริหารเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตามแผนไม่ให้บกพร่อง
                                                        - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอนให้พอเพียงกับผู้เรียน
                                                - กำหนดใบมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนเตรียมตัวล่วงหน้า
                               4.  เงื่อนไขความรู้
                                         - มีความรู้และมีความชำนาญในเนื้อหาเรื่อง   พื้นฐานด้านการติดตั้งระบบปฏิบัติการ
                                        - รู้เทคนิควิธีการสอนแลการแก้ไขกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นขณะทำการเรียนการสอน
                                        - รู้วิธีการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมให้กับการเรียนการสอน
              5.  เงื่อนไขคุณธรรม
                                                       - มีจิตสำนึก  และตระหนักถึงความปลอดภัย  และอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับต่อตัวเอง และ
ผู้อื่น
 - มีความเอื้อเฟื้อต่อกัน  มีความสามัคคี   รู้จักเสียสละ มีความรับผิดชอบ  ซื่อสัตย์สุจริต  ตรงต่อเวลา  และมีความคิดสร้างสรรค์
                              6. การเชื่อมโยง 
                                  - ด้านสังคม
                                                       - สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมหรือในองค์กรได้
                                                    - การใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าเศรษฐกิจ
                                                    - เลือกวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน และการทำงานได้อย่างถูกต้อง
                                                    - เลือกวิธีการป้องกันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้
                                                    - ผู้ฝึกการปฏิบัติงานควรคำนึงถึงผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่าย
                           - ด้านวัฒนธรรม
                                        - ผู้เรียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
                                                    - มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมี
                                    ความสุข   
                          - ด้านสิ่งแวดล้อม
                                        - เกิดความปลอดภัยในชีวิตตนเอง และผู้อื่น
                                                    - จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้เป็นระเบียบ เหมาะสมถูกต้อง
 การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 D
              1.   ด้านประชาธิปไตย
- มีการเปิดโอกาสนักเรียนได้แสดงความคิดเห็น  และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
              2.   ด้านคุณธรรม  จริยธรรม ค่านิยม 12 ประการ และความเป็นไทย
- นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบ ประณีต  และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินัย  ความ
  สนใจใฝ่รู้ 
              3.   ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด
- นักเรียนใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งทำงานที่ได้รับมอบหมายจะได้
                             ห่างไกลจากยาเสพติด



                    6.  กิจกรรมการเรียนรู้
-  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
2. ครูแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล
-  ขั้นสอนทฤษฎี
1. ครูบรรยายเนื้อหาประกอบแผ่นใส / power point
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในประเด็นที่สงสัยหรือไม่เข้าใจ
-  ขั้นสรุป
1. ครูสรุปสาระสำคัญของหน่วยการเรียนรู้ที่ 2  และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามหรือแสดง และความคิดเห็น
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหน่วยการเรียนรู้
                   7.  สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
8.1  หนังสือเรียนวิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)
8.2   สื่อ  power point  เกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนรู้ในหน่วยที่ 2
8.3  ห้องสมุดวิทยาลัย/โรงเรียน  ศูนย์วิทยบริการ  ห้องปฏิบัติการ 
                           8.4  ครูผู้สอน, Internet , E- books , Website  ต่าง ๆ
                   8.  หลักฐานการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักศึกษา (อาจใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
                     8.1  การจัดบอร์ด และนำเสนอ  
                     8.2  แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ-ใบงาน-แฟ้มสะสมผลงาน
                9. การวัดและประเมินผล
                           -วิธีวัด / เครื่องมือวัด / ประเมินผล/เกณฑ์การวัดผล
                                 9.1   ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
                           9.2   การซักถาม และการตอบคำถาม
                             9.3   แบบทดสอบ / แบบฝึกหัด และกิจกรรมการฝึกทักษะ(ปฏิบัติงานจริง)ใบงาน
                             9.4   การทำงานเป็นทีม (ให้ความสำคัญในการทำงาน) หรือด้านเจคติ
                            9.5   แฟ้มสะสมผลงาน
                            9.6  เกณฑ์การวัดประเมินผลจะต้องผ่านเกณฑ์  70 %
             

10. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย  (ถ้ามี)
เพื่อให้การนำแผนการจัดการเรียนรู้  วิชา  ระบบปฏิบัติการเบ้องต้น  (2204-2002) ไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น  ก่อนการนำแผนการสอนนี้ไปใช้ ครูผู้สอนควรดำเนินการดังต่อไปนี้
1.             ครูผู้สอนควรศึกษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างละเอียด
2.             จัดเตรียมสื่อ วัสดุ  อุปกรณ์ที่จะใช้ในการเรียนการสอนให้ครบถ้วน
3.           ดำเนินการสอนตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน
4.           ครูนักเรียนควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรู้
5.           ครูควรมีการมอบหมายงานให้นักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีทั้งภาคปฏิบัติ(ชิ้นงาน)
     
             11.  เอกสารอ้างอิง
               
-  หนังสือ วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส  2204-2002)   ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง  บุญสืบ  โพธิ์ศรี      
 -  ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ  89 .มหรรณพ  เสาชิง  พระนคร  กรุงเทพฯ 10200  โทรศัพท์. 0-2224-1129, 0-224-1197
-  Website  ต่าง ๆ



















         13.  บันทึกหลังการสอน
                 13.1  ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.2  ปัญหาที่พบ
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.3  แนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                                                               

                                                             ลงชื่อ                                                         ครูผู้สอน
                                                                             (...............................................................)



แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
ชื่อวิชา    ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  รหัสวิชา   2204 - 2002
หน่วยที่   ชื่อหน่วย  ระบบปฏิบัติการ
เวลา   3  ชั่วโมง    สัปดาห์ที่  10-12   ชั่วโมงที่  37-48
 


1.             สาระสำคัญ
- โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือเรียกสั้นๆ ว่า  OS (Operating System)  เป็นโปรแกรมควบคุมการ
ทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานต่างๆ เช่นการแสดงผลข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้โดยทำหน้าที่เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับโปรแกรมต่างๆ
2.  สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้
 ใช้งานระบบปฏิบัติการ
             3.  สาระการเรียนรู้
3.1       โปรแกรม 
3.2      หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
3.3       ความสำคัญของระบบปฏิบัติการ
3.4       ประเภทของระบบปฏิบัติการ
3.5       ระบบปฏิบัติการ DOS
4.  จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง
4.1  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ระบบปฏิบัติการ
4.2   มีความรู้ความเข้าใจในทักษะการใช้งาน ระบบปฏิบัติการ
4.3  มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ  อุปกรณ์  และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง สำเร็จภายในเวลาที่กำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

                5.  จุดประสงค์การเรียนรู้นำทาง (พฤติกรรม)
5.1      อธิบายความหมายของระบบปฏิบัติการได้
5.2      แยกแยะหน้าที่ของระบบปฏิบัติการได้ 
5.3      จำแนกประเภทของระบบปฏิบัติการได้
5.4      อธิบายการทำงานของระบบปฏิบัติการ Dos ได้
5.5      อธิบายการทำงานของระบบปฏิบัติการ Windows 7 ได้
5.6      อธิบายการทำงานของระบบปฏิบัติการ Linux ได้
5.7      การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ  อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง  และ
ตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน   มีการจัดเตรียมสถานที่  สื่อ  วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อม
5.8   ความมีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอที่น่าสนใจนำวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้   อย่างคุ้มค่าและประหยัด
               
                6.  การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                1. หลักความพอประมาณ
                                                 - พอประมาณกับเวลาที่กำหนดในการเรียนการสอน  เรื่อง  ระบบปฏิบัติการ
                                             - พอประมาณกับการเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน เรื่อง  
                                           ระบบปฏิบัติการ     
                                           2. หลักความมีเหตุผล
                                              - มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในทักษะกระบวนการคิด และแก้ปัญหา
                                              - ออกแบบหรือใช้เทคนิค และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
                                                - เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานตัวชี้วัด
                                           และมีคุณลักษณะพึงประสงค์                  
                                3. หลักภูมิคุ้มกัน 
                          - มีการวางแผน และบริหารเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตามแผนไม่ให้บกพร่อง
                                                        - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอนให้พอเพียงกับผู้เรียน
                                                - กำหนดใบมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนเตรียมตัวล่วงหน้า
                               4.  เงื่อนไขความรู้
                                         - มีความรู้ และมีความชำนาญในเนื้อหาเรื่อง  ระบบปฏิบัติการ     
                                        - รู้เทคนิควิธีการสอนแลการแก้ไขกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นขณะทำการเรียนการสอน
                                        - รู้วิธีการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมให้กับการเรียนการสอน
              5.  เงื่อนไขคุณธรรม
                                                       - มีจิตสำนึก  และตระหนักถึงความปลอดภัย  และอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตัวเอง และ
ผู้อื่น
- มีความเอื้อเฟื้อต่อกัน  มีความสามัคคี   รู้จักเสียสละ มีความรับผิดชอบ  ซื่อสัตย์สุจริต  ตรงต่อเวลา  และมีความคิดสร้างสรรค์

                              6. การเชื่อมโยง 
                                  - ด้านสังคม
                                                       - สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมหรือในองค์กรได้
                                                    - การใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าเศรษฐกิจ
                                                    - เลือกวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน และการทำงานได้อย่างถูกต้อง
                                                    - เลือกวิธีการป้องกันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้
                                                    - ผู้ฝึกการปฏิบัติงานควรคำนึงถึงผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่าย
                           - ด้านวัฒนธรรม
                                        - ผู้เรียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
                                                    - มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมี
                                    ความสุข   
                          - ด้านสิ่งแวดล้อม
                                        - เกิดความปลอดภัยในชีวิตตนเอง และผู้อื่น
                                                    - จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้เป็นระเบียบ เหมาะสมถูกต้อง
 - การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 D
              1.   ด้านประชาธิปไตย
- มีการเปิดโอกาสนักเรียนได้แสดงความคิดเห็น  และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
              2.   ด้านคุณธรรม  จริยธรรม ค่านิยม 12 ประการ และความเป็นไทย
- นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบ ประณีต  และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินัย  ความ
  สนใจใฝ่รู้ 
              3.   ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด
- นักเรียนใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งทำงานที่ได้รับมอบหมายจะได้
                             ห่างไกลจากยาเสพติด
               7.  กิจกรรมการเรียนรู้
-  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้หน่วยที่ 3 (ระบบปฏิบัติการ)
2. ครูแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล
-  ขั้นสอนทฤษฎี
1. ครูบรรยายเนื้อหาประกอบแผ่นใส / power point
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในประเด็นที่สงสัยหรือไม่เข้าใจ
-  ขั้นสอนปฏิบัติ
- ไม่มีการปฏิบัติการทดลอง

-  ขั้นสรุป
1. ครูสรุปสาระสำคัญของหน่วยการเรียนรู้ที่ 3  และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามหรือแสดง และความคิดเห็น
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหรือกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ที่ 3
                      8.  สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
8.1  หนังสือเรียนวิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)
8.2  สื่อ power point เกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนรู้ในหน่วยที่ 3 (ระบบปฏิบัติการ)
8.3  ห้องสมุดวิทยาลัย/โรงเรียน  ศูนย์วิทยบริการ  ห้องปฏิบัติการ 
                            8.4  ครูผู้สอน, Internet , E- books , Website  ต่าง ๆ
                    9.  หลักฐานการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักศึกษา (อาจใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
                     9.1  การจัดบอร์ด และนำเสนอ  
                     9.2  แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ-ใบงาน-แฟ้มสะสมผลงาน
                  10. การวัดและประเมินผล
                           -วิธีวัด / เครื่องมือวัด / ประเมินผล/เกณฑ์การวัดผล
                                 10.1   ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
                           10.2   การซักถาม และการตอบคำถาม
                             10.3   แบบทดสอบ / แบบฝึกหัด และกิจกรรมการฝึกทักษะ(ปฏิบัติงานจริง)ใบงาน
                             10.4    การทำงานเป็นทีม (ให้ความสำคัญในการทำงาน) หรือด้านเจคติ
                            10.5   แฟ้มสะสมผลงาน
                            10.6  เกณฑ์การวัดประเมินผลจะต้องผ่านเกณฑ์  70 %
               11. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย  (ถ้ามี)

                       -  เพื่อให้การนำแผนการจัดการเรียนรู้  วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส  2204-2002) ไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น  ก่อนการนำแผนการสอนนี้ไปใช้ ครูผู้สอนควรดำเนินการดังต่อไปนี้

1.             ครูผู้สอนควรศึกษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างละเอียด
2.             จัดเตรียมสื่อ วัสดุ  อุปกรณ์ที่จะใช้ในการเรียนการสอนให้ครบถ้วน
3.             ดำเนินการสอนตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน
4.             ครูนักเรียนควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรู้
5.             ครูควรมีการมอบหมายงานให้นักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้


                12.  เอกสารอ้างอิง
-  หนังสือ วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส  2204-2002)   ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง  บุญสืบ  โพธิ์ศรี      
 -  ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ  89 .มหรรณพ  เสาชิง  พระนคร  กรุงเทพฯ 10200  โทรศัพท์. 0-2224-1129, 0-224-1197
-  Website  ต่าง ๆ
 13.  บันทึกหลังการสอน
                  13.1  ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                  13.2  ปัญหาที่พบ
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                  13.3  แนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                                                               
                                                             ลงชื่อ                                                         ครูผู้สอน
                                                                             (...............................................................)
แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
ชื่อวิชา    ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  รหัสวิชา   2204 - 2002
หน่วยที่   ชื่อหน่วย   การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
เวลา   4  ชั่วโมง    สัปดาห์ที่  5-8   ชั่วโมงที่ 17-32
 


1.  สาระสำคัญ
  Windows 7 เป็นระบบปฏิบัติการที่กำลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน Windows 7 ถูกพัฒนาให้มีความสามารถมากขึ้นกว่าวินโดวส์รุ่นก่อนหลายด้าน เช่น ความเร็วในการค้นหาข้อมูล การป้องกันความปลอดภัยของข้อมูล และการปรับแต่งหน้าตาของวินโดวส์ให้มีความทันสมัยมากขึ้น

 2.  สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 
-  ใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
   
       3.  สาระการเรียนรู้
3.1      Log on เพื่อเข้าใช้งานวินโดวส์
3.2      ส่วนต่างๆ ของหน้าตา Windows 7

4.  จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง
4.1       มีความรู้เกี่ยวกับ การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ(ด้านความรู้) 
4.2      มีความรู้ความเข้าในเกี่ยวกับทักษะใช้งาน การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ (ด้านทักษะ)
4.4 มีความรู้ความเข้าใจในการนำความรู้ในการนำวัสดุเหลือใช้หรือวัสดุธรรมชาติมาประดิษฐ์ภาพประติมากรรมตามหลักและขั้นตอนโดยไม่ทำลายธรรมชาติและทำให้เกิดมลพิษ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม)
                          
                5.  จุดประสงค์การเรียนรู้นำทาง (พฤติกรรม)
5.1       สามารถ Log on เพื่อเข้าใช้งานวินโดวส์ได้ (ด้านทักษะ)
5.2       บอกส่วนต่างๆ ของหน้าตา Windows 7 ได้ (ด้านความรู้)
5.3       ปรับแต่งหน้าตาของ Windows 7 ได้ (ด้านทักษะ)
5.4      ทดลองใช้และตั้งค่า Screen Saver ได้ (ด้านทักษะ)
5.5       ย้ายและเปลี่ยนตำแหน่งทาสก์บาร์ได้ (ด้านทักษะ)
5.6       อธิบายการใช้งานและหน้าที่ของหน้าต่างในวินโดวส์ได้ (ด้านความรู้)
5.7       เรียกใช้โปรแกรมได้หลายรูปแบบ (ด้านทักษะ)
5.8  ออกจากวินโดวส์ได้
5.9  สามารถนำความรู้ในการนำวัสดุเหลือใช้หรือวัสดุธรรมชาติมาประดิษฐ์ภาพประติมากรรมตามหลักและขั้นตอนโดยไม่ทำลายธรรมชาติและทำให้เกิดมลพิษ

                6.  การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                1. หลักความพอประมาณ
                                               - พอประมาณกับเวลาที่กำหนดในการเรียนการสอน  เรื่อง  การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
                                             - พอประมาณกับการเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน  เรื่อง  
การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
                                           2. หลักความมีเหตุผล
                                              - มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในทักษะกระบวนการคิด และแก้ปัญหา
                                              - ออกแบบหรือใช้เทคนิค และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
                                                - เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานตัวชี้วัด
                                           และมีคุณลักษณะพึงประสงค์                  
                                3. หลักภูมิคุ้มกัน 
                          - มีการวางแผน และบริหารเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตามแผนไม่ให้บกพร่อง
                                                        - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอนให้พอเพียงกับผู้เรียน
                                                - กำหนดใบมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนเตรียมตัวล่วงหน้า
                               4.  เงื่อนไขความรู้
                                         - มีความรู้ และมีความชำนาญในเนื้อหาเรื่อง การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
                                        - รู้เทคนิควิธีการสอนแลการแก้ไขกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นขณะทำการเรียนการสอน
                                        - รู้วิธีการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมให้กับการเรียนการสอน
             
5.  เงื่อนไขคุณธรรม
                                                       - มีจิตสำนึก  และตระหนักถึงความปลอดภัย  และอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตัวเอง และ
         ผู้อื่น - มีความเอื้อเฟื้อต่อกัน  มีความสามัคคี   รู้จักเสียสละ มีความรับผิดชอบ  ซื่อสัตย์สุจริต  ตรงต่อเวลา   
         และมีความคิดสร้างสรรค์
                              6. การเชื่อมโยง 
                                  - ด้านสังคม
                                                       - สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมหรือในองค์กรได้
                                                    - การใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าเศรษฐกิจ
                                                    - เลือกวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน และการทำงานได้อย่างถูกต้อง
                                                    - เลือกวิธีการป้องกันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้
                                                    - ผู้ฝึกการปฏิบัติงานควรคำนึงถึงผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่าย
                           - ด้านวัฒนธรรม
                                        - ผู้เรียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
                                                    - มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติงานร่วมกันอย่างมี
                                    ความสุข   
                          - ด้านสิ่งแวดล้อม
                                        - เกิดความปลอดภัยในชีวิตตนเอง และผู้อื่น
                                                    - จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้เป็นระเบียบ เหมาะสมถูกต้อง
 - การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 D
              1.   ด้านประชาธิปไตย
- มีการเปิดโอกาสนักเรียนได้แสดงความคิดเห็น  และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
              2.   ด้านคุณธรรม  จริยธรรม ค่านิยม 12 ประการ และความเป็นไทย
- นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบ ประณีต  และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินัย  ความ
  สนใจใฝ่รู้ 
              3.   ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด
- นักเรียนใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งทำงานที่ได้รับมอบหมายจะได้
                                           ห่างไกลจากยาเสพติด

               7.  กิจกรรมการเรียนรู้
-  ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้หน่วยที่ 4 (การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ)
2. ครูแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล
-  ขั้นสอนทฤษฎี
1. ครูบรรยายเนื้อหาประกอบแผ่นใส / power point
2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในประเด็นที่สงสัยหรือไม่เข้าใจ
-  ขั้นสรุป
1. ครูสรุปสาระสำคัญของหน่วยการเรียนรู้ที่ 4   และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามหรือแสดง และความคิดเห็น
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหรือกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ที่  4

              8.  สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
8.1  หนังสือเรียนวิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)
8.2   สื่อ  power point  เกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนรู้ในหน่วยที่ 4 (ศิลปะกับคอมพิวเตอร์)
8.3  ห้องสมุดวิทยาลัย/โรงเรียน  ศูนย์วิทยบริการ  ห้องปฏิบัติการ 
                           8.4  ครูผู้สอน, Internet , E- books , Website  ต่าง ๆ
                      
              9.  หลักฐานการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักศึกษา (อาจใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
                     9.1  การจัดบอร์ด และนำเสนอ  
                     9.2  แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ-ใบงาน-แฟ้มสะสมผลงาน

            10. การวัดและประเมินผล
                           -วิธีวัด / เครื่องมือวัด / ประเมินผล/เกณฑ์การวัดผล
                                 10.1   ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
                           10.2   การซักถาม และการตอบคำถาม
                             10.3   แบบทดสอบ / แบบฝึกหัด และกิจกรรมการฝึกทักษะ(ปฏิบัติงานจริง)ใบงาน
                             10.4   การทำงานเป็นทีม (ให้ความสำคัญในการทำงาน) หรือด้านเจคติ
                            10.5   แฟ้มสะสมผลงาน
                            10.6  เกณฑ์การวัดประเมินผลจะต้องผ่านเกณฑ์  70 %

          11. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย  (ถ้ามี)

                -  เพื่อให้การนำแผนการจัดการเรียนรู้  วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น (รหัส 2204-2002)  ไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น  ก่อนการนำแผนการสอนนี้ไปใช้ ครูผู้สอนควรดำเนินการดังต่อไปนี้

1.             ครูผู้สอนควรศึกษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างละเอียด
2.             จัดเตรียมสื่อ วัสดุ  อุปกรณ์ที่จะใช้ในการเรียนการสอนให้ครบถ้วน
3.           ดำเนินการสอนตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน
4.           ครูนักเรียนควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรู้
5.           ครูควรมีการมอบหมายงานให้นักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้

          12.  เอกสารอ้างอิง
               
-  หนังสือ วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส  2204-2002)   ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง  บุญสืบ  โพธิ์ศรี      
 -  ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ  89 .มหรรณพ  เสาชิง  พระนคร  กรุงเทพฯ 10200  โทรศัพท์. 0-2224-1129, 0-224-1197
-  Website  ต่าง ๆ
         13.  บันทึกหลังการสอน
                 13.1  ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.2  ปัญหาที่พบ
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.3  แนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                                                               
                                                             ลงชื่อ                                                         ครูผู้สอน
                                                                             (...............................................................)




แผนการจัดการเรียนรู้รายหน่วย
ชื่อวิชา    ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  รหัสวิชา   2204 - 2002
หน่วยที่   ชื่อหน่วย   การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้
เวลา   4  ชั่วโมง    สัปดาห์ที่  16-18   ชั่วโมงที่  61-72
 


1.  สาระสำคัญ
                     - โปรแกรมยูทิลิตี้  คือ  โปรแกรมเสริมที่ช่วยอำนวยความสะดวก  ในการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์  เช่น  ช่วยอำนวยความสะดวกในเรื่องการสำเนาการบีบอัดข้อมูลการตรวจสอบไวรัสด้านความบันเทิงการเขียนข้อมูลลงบนซีดี  ตลอดจนการบริหารจัดการและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์
              2.  สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้           
 -  ใช้งานโปรแกรมยูทิลิตี้

             3.  สาระการเรียนรู้
3.1      โปรแกรม Scan Disk
3.2      โปรแกรม Defragmenter
3.3      โปรแกรมรักษาจอภาพ  Screen Saver
3.4      โปรแกรม Nero Buming Rom 11
3.5      โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์
3.6      โปรแกรมย่อไฟล์ (Win RAR)
4.  จุดประสงค์การเรียนรู้ปลายทาง
3.1      มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
3.2      มีความรู้ความเข้าใจในทักษะใช้งาน การเลือกใช้และติดตั้งระบบปฏิบัติการ
3.3      มีเจตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ  อุปกรณ์  และการปฏิบัติงานอย่างถูกต้อง สำเร็จภายในเวลาที่กำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                       
                5.  จุดประสงค์การเรียนรู้นำทาง (พฤติกรรม)
5.1  สามารถ Log on เพื่อเข้าใช้งานวินโดวส์ได้
5.2  บอกส่วนต่างๆ ของหน้าตา Windows 7 ได้
5.3  ปรับแต่งหน้าตาของ Windows 7 ได้
5.4  ทดลองใช้และตั้งค่า Screen Saver ได้
5.5  ย้ายและเปลี่ยนตำแหน่งทาสก์บาร์ได้
5.6  อธิบายการใช้งานและหน้าที่ของหน้าต่างในวินโดวส์ได้
5.7  เรียกใช้โปรแกรมได้หลายรูปแบบ
5.8  ออกจากวินโดวส์ได้ถูกต้อง
5.9  การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียม วัสดุ  อุปกรณ์นักศึกษาจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง  และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน   มีการจัดเตรียมสถานที่  สื่อ  วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อมเพรียง 
5.10  ความมีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  นักศึกษาจะต้องมีการใช้ เทคนิคที่แปลกใหม่ใช้สื่อและเทคโนโลยีประกอบการนำเสนอที่น่าสนใจนำวัสดุในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้   อย่างคุ้มค่าและประหยัด
                6.  การบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                                1. หลักความพอประมาณ
                                    - พอประมาณกับเวลาที่กำหนดในการเรียนการสอน  เรื่อง   การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้
                                    - พอประมาณกับการเตรียมเครื่องมือ และอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน   เรื่อง   การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้                                           
                                2. หลักความมีเหตุผล
                                    - มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในทักษะกระบวนการคิด และแก้ปัญหา
                                    - ออกแบบหรือใช้เทคนิค และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับเนื้อหา
                                      - เพื่อให้การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามมาตรฐานตัวชี้วัด
                                   และมีคุณลักษณะพึงประสงค์                  
                                3. หลักภูมิคุ้มกัน 
                - มีการวางแผน และบริหารเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ตรงตามแผนไม่ให้บกพร่อง
                                              - จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องการเรียนการสอนให้พอเพียงกับผู้เรียน
                                      - กำหนดใบมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนเตรียมตัวล่วงหน้า
                               4.  เงื่อนไขความรู้
                               - มีความรู้ และมีความชำนาญในเนื้อหาเรื่อง   การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้                                      
                               - รู้เทคนิควิธีการสอนแลการแก้ไขกับปัญหาที่จะเกิดขึ้นขณะทำการเรียนการสอน
                               - รู้วิธีการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องให้เหมาะสมให้กับการเรียนการสอน
              5.  เงื่อนไขคุณธรรม
                                             - มีจิตสำนึก  ตระหนักถึงความปลอดภัย  และอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับตัวเอง และผู้อื่น
         มีความเอื้อเฟื้อต่อกัน  มีความสามัคคี   รู้จักเสียสละ มีความรับผิดชอบ  ซื่อสัตย์สุจริต  ตรงต่อเวลา  และมี  
         ความคิดสร้างสรรค์
                              6. การเชื่อมโยง 
                               
  - ด้านสังคม
                                                  - สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นในสังคมหรือในองค์กรได้
                                               - การใช้ทรัพยากรร่วมกันให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าเศรษฐกิจ
                                               - เลือกวัสดุอุปกรณ์ การเรียนการสอน และการทำงานได้อย่างถูกต้อง
                                               - เลือกวิธีการป้องกันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม จะสามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตได้
                                               - ผู้ฝึกการปฏิบัติงานควรคำนึงถึงผลดีผลเสียที่จะเกิดขึ้นกับทุกฝ่าย
                           - ด้านวัฒนธรรม
                                - ผู้เรียนมีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
                                               - มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และมีส่วนร่วมฝึกปฏิบัติงานกันอย่างมีความสุข
        - ด้านสิ่งแวดล้อม
                                        - เกิดความปลอดภัยในชีวิตตนเอง และผู้อื่น
                                                    - จัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน ได้เป็นระเบียบ เหมาะสมถูกต้องรวมถึง
                                     ความสะอาด
 - การบูรณาการกับมาตรฐานสถานศึกษา 3 D
              1.   ด้านประชาธิปไตย
         - มีการเปิดโอกาสนักเรียนได้แสดงความคิดเห็น  และยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
              2.   ด้านคุณธรรม  จริยธรรม  ค่านิยม 12 ประการ  และความเป็นไทย
                                    - นักเรียนมีความละเอียดรอบคอบ ประณีต  และแสดงพฤติกรรมถึงความมีวินัย  ความ
                                      สนใจใฝ่รู้ 
              3.   ด้านภูมิคุ้มกันภัยจากยาเสพติด
                                    - นักเรียนใช้เวลาว่างในการทบทวนความรู้ต่าง ๆ รวมทั้งทำงานที่ได้รับมอบหมายจะได้
                                      ห่างไกลจากยาเสพติด
               7.  กิจกรรมการเรียนรู้
-  ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน
                                    1. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้หน่วยที่ 5 (การใช้โปรแกรมยูทิตี้)
                                    2. ครูแจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผล
-  ขั้นสอนทฤษฎี
                                    1. ครูบรรยายเนื้อหาประกอบแผ่นใส / power point
                                    2. ครูซักถามนักเรียนเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน
                                    3. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นหรือซักถามในประเด็นที่สงสัยหรือไม่เข้าใจ

-  ขั้นสรุป
1. ครูสรุปสาระสำคัญของหน่วยการเรียนรู้ที่ 5   และเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามหรือ
            แสดง และความคิดเห็น
2. ให้นักเรียนทำแบบทดสอบหรือกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ที่ 5
              8.  สื่อ / แหล่งการเรียนรู้
8.1  หนังสือเรียนวิชา ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)
8.2   สื่อ  power point  การเรียนรู้ในหน่วยที่ 5 (การใช้โปรแกรมยูทิลิตี้)
8.3  ห้องสมุดวิทยาลัย/โรงเรียน  ศูนย์วิทยบริการ  ห้องปฏิบัติการ 
                           8.4  ครูผู้สอน, Internet , E- books , Website  ต่าง ๆ
               9.  หลักฐานการเรียนรู้ / ชิ้นงานของนักศึกษา (อาจใช้อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ได้)
                     9.1  การจัดบอร์ด และนำเสนอ  
                     9.2  แบบฝึกหัด-แบบทดสอบ-ใบงาน-แฟ้มสะสมผลงาน

             10. การวัดและประเมินผล
                           -วิธีวัด / เครื่องมือวัด / ประเมินผล/เกณฑ์การวัดผล
                                 10.1   ความสนใจในการเรียนรู้ การค้นคว้า การมีส่วนร่วมในกิจกรรม
                           10.2   การซักถาม และการตอบคำถาม
                             10.3   แบบทดสอบ / แบบฝึกหัด และกิจกรรมการฝึกทักษะ(ปฏิบัติงานจริง)ใบงาน
                             10.4   การทำงานเป็นทีม (ให้ความสำคัญในการทำงาน) หรือด้านเจคติ
                            10.5   แฟ้มสะสมผลงาน
                            10.6  เกณฑ์การวัดประเมินผลจะต้องผ่านเกณฑ์  70 %

           11. กิจกรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย  (ถ้ามี)

                -  เพื่อให้การนำแผนการจัดการเรียนรู้  วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น (รหัส 2204-2002)  ไปใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดนั้น  ก่อนการนำแผนการสอนนี้ไปใช้ ครูผู้สอนควรดำเนินการดังต่อไปนี้

1.             ครูผู้สอนควรศึกษา และทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจอย่างละเอียด
2.             จัดเตรียมสื่อ วัสดุ  อุปกรณ์ที่จะใช้ในการเรียนการสอนให้ครบถ้วน
3.             ดำเนินการสอนตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียนการสอน
4.             ครูนักเรียนควรมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรู้
5.             ครูควรมีการมอบหมายงานให้นักเรียนทุกหน่วยการเรียนรู้

          12.  เอกสารอ้างอิง
               
-  หนังสือ วิชา  ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (รหัส  2204-2002)   ผู้แต่ง/ผู้เรียบเรียง  บุญสืบ  โพธิ์ศรี       
 -  ศูนย์ส่งเสริมอาชีวะ  89 .มหรรณพ  เสาชิง  พระนคร  กรุงเทพฯ 10200  โทรศัพท์. 0-2224-1129, 0-224-1197
-  Website  ต่าง ๆ
          13.  บันทึกหลังการสอน
                 13.1  ข้อสรุปหลังการจัดการเรียนรู้
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.2  ปัญหาที่พบ
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                13.3  แนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา
                ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………….

                                                               
                                                             ลงชื่อ                                                         ครูผู้สอน
                                                                             (...............................................................)
การวัด การประเมินผล (Assessnient)

งาน / ทดสอบ
ครั้งที่
เนื้อหาที่สอบ
คะแนน
หมายเหตุ
แบบฝึกหัด
ใบงาน
ภาคปฏิบัติ
1
- กิจกรรมงานที่มอบหมาย (1-5)
10
งานมอบหมาย
หรือโครงงาน
2.
- เนื้อหาในหน่วยการเรียนย่อย (1-5)
10
3.
- กิจกรรมฝึกด้านทักษะ(การปฏิบัติงาน) (1-5)
10

4.
- ชิ้นงาน
10





















สอบกลางภาค
5.
- ทางด้านวิชาการ(ด้านทฤษฎี-ปฏิบัติ)
20






สอบปลายภาค
6.
- ทางด้านวิชาการ(ด้านทฤษฎี-ปฏิบัติ)
20






จิตพิสัย
7.
- พฤติกรรมทั่ว ๆไป
20































อ.ที่ปรึกษา

 


อ.ประจำวิชา

  นางสาวสุนันทา  มูลจันทา
























รวม (Total)
100




การประเมินผลรายวิชา

รายวิชานี้แบ่งเป็น  5   หน่วยการเรียนรู้   การวัด  และการประเมินผลจะดำเนินการดังนี้
1.             วิธีการ
- ดำเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อการประมวลผลแยกเป็น  3  ส่วน  โดยแบ่งแยกคะแนนแต่
ละส่วนจากคะแนนเต็ม  100   คะแนน
                - พิจารณาผลงานที่มอบหมายตามหน่วยการเรียนรู้ที่  1 - 5    เท่ากับ  30  คะแนน  หรือ  30 %
                - พิจารณาจิตพิสัย  ความสนใจ  การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ  เท่ากับ   20  คะแนน  หรือ  20 %
                - การทดสอบทางวิชาการ (กลางภาค-ปลายภาค) ด้านปฏิบัติงาน  เท่ากับ  50  คะแนน  หรือ  50 %
        2.  เกณฑ์การให้คะแนน
                - ผู้ที่จะผ่านรายวิชานี้จะต้อง
                2.1  ทำผลงานที่ได้รับมอบหมายส่งได้คะแนนอย่างน้อย   70 %  ของผลงาน
                2.2  มีเวลาเรียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ  80  ของเวลาเรียนทั้งหมด
                2.3  ผลรวมของคะแนนทั้งหมดต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ  50
                2.4  ต้องสอบผ่านหน่วยที่สำคัญๆ ที่อาจารย์ผู้สอนเห็นว่าเหมาะสม  เช่น  หน่วยที่  1 , 3 , 5   ซึ่งเป็นหน่วยที่สำคัญ ถ้าสอบไม่ผ่านให้สอบแก้ตัวในหน่วยนั้น ๆ ได้อย่างน้อย  1 ครั้ง
                2.5  เกณฑ์ค่าระดับคะแนน พิจารณาตามเกณฑ์ผ่านรายวิชาตามข้อ 2   จะได้ระดับคะแนน  A – F
ผู้ที่สอบผ่านตามเกณฑ์ข้อ 2 แล้ว  ขึ้นอยู่กับการทำคะแนนได้ตามเกณฑ์ดังนี้
                                - คะแนนร้อยละ        80   ขึ้นไป      ได้เกรด     A      หรือ   4
                                - คะแนนร้อยละ  75-79   ขึ้นไป      ได้เกรด      B+   หรือ   3.5
                                - คะแนนร้อยละ  70-74   ขึ้นไป      ได้เกรด      B      หรือ   3.0
                                - คะแนนร้อยละ  65-69   ขึ้นไป      ได้เกรด      C+   หรือ    2.5
                                - คะแนนร้อยละ  60-64   ขึ้นไป      ได้เกรด      C      หรือ   2.0
                                - คะแนนร้อยละ  55-59   ขึ้นไป      ได้เกรด      D+   หรือ    1.5
                                - คะแนนร้อยละ  50-54   ขึ้นไป      ได้เกรด       D     หรือ   1.0
                                - คะแนนร้อยละ    0-49   ขึ้นไป      ได้เกรด       F      หรือ   0






การวัดผลและประเมินผล(คะแนน)


                1.  อัตราส่วนของคะแนน                                                 70  :  30              คะแนน
                2.  คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน                                             70               คะแนน                
               3.  คะแนนสอบปลายภาค                                                       30                             คะแนน                
                4.  คะแนนเต็ม                                                                         100             คะแนน

ลำดับที่
รายละเอียดของคะแนน
จำนวนคะแนน
1
2
3
4
ประเมินพฤติกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม
งานมอบหมาย (โครงงาน)  ใบงาน  และการปฏิบัติจริง
ทดสอบกลางภาคเรียน
ทดสอบปลายภาคเรียน
20
30
20
30


รวม

100

หมายเหตุ   
1.             ผู้สอนสามารถปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสภาพของผู้เรียน และสภาพแวดล้อมของแต่ละ
สถานศึกษาได้ตามความเหมาะสม
                2.   แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้  ใช้ควบคู่กับหนังสือวิชา   ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น  (2204-2002)  
3.  ควรมอบหมายงานให้ผู้เรียนทุกคนทำกิจกรรมเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนให้เหมาะสม
4.  งานทุกชิ้นที่ได้รับมอบหมายให้ทำ  จะต้องจัดเก็บไว้ในแฟ้มสะสมงาน










รวบรวมความรู้ต่างๆ เด็กดูได้ผู้ใหญ่ดูดี กำนันก็มาดู

อาจารย์สมภพ จุลถาวรทรัพย์

อาจารย์สมภพ  จุลถาวรทรัพย์
7 ถ.หนองขาม2 อ.บัวใหญ่ จ.นครราชสีมา 30120 โทร 0872407227
Powered By Blogger

Translate(เปลี่ยนภาษา ครับท่าน)

ผู้ติดตาม